วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ไตรยางศ์ หรือ อักษรสามหมู่

ไตรยางศ์ หรือ อักษรสามหมู่ คือระบบการจัดหมวดหมู่อักษรไทย (เฉพาะรูปพยัญชนะ) ตามลักษณะการผันวรรณยุกต์ ของพยัญชนะแต่ละหมวด เนื่องจากพยัญชนะไทย เมื่อกำกับด้วยวรรณยุกต์หนึ่งๆ แล้วจะมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน การจัดหมวดพยัญชนะ ทำให้การเรียนภาษาไทยง่ายขึ้น ด้วยเหตุนี้ จึงเชื่อว่า ในชั้นแรกนั้ไตรยางศ์มีการจัดหมวดหมู่เพื่อแบ่งพยัญชนะไทยออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
·         อักษรสูง มี 11 ตัว ได้แก่           
·         อักษรกลาง มี 9 ตัว ได้แก่         
·         อักษรต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่                        
การจัดหมวดหมู่ไตรยางศ์นั้น มีหลักฐานปรากฏครั้งแรกในหนังสือจินดามณี เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา เข้าใจว่าเป็นผลงานของพระโหราธิบดีได้แต่งถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนในเรื่องนี้
น การแบ่งหมวดหมู่พยัญชนะน่าจะทำขึ้นเพื่อประโยชน์ในการแต่งตำราสอนภาษาไทยแก่นักเรียน
ในการจัดหมวดหมู่ไตรยางศ์ อักษรสูงและอักษรต่ำจำนวนหนึ่ง มีลักษณะเสียงอย่างเดียวกันแต่ในพื้นเสียงต่างกัน นั่นคือ พวกหนึ่งมีพื้นเสียงสูง อีกพวกหนึ่งมีพื้นเสียงต่ำ สามารถจัดเป็นคู่ได้ 7 คู่ เรียกว่า "อักษรคู่"

อักษรสูง
อักษรต่ำ
ข ฃ
ค ฅ ฆ
ช ฌ
ฐ ถ
ฑ ฒ ท ธ
พ ภ
ศ ษ ส
อักษรคู่เหล่านี้ สามารถนำมาใช้ร่วมกันเพื่อผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบ 5 เสียง เช่นเดียวกับอักษรกลาง เช่น
·         คา - ข่า - ข้า/ค่า - ค้า - ขา
·         ฮา - ห่า - ห้า/ฮ่า - ฮ้า - หา
สำหรับอักษรต่ำที่เหลือ คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ จะใช้ ห เป็นอักษรนำเพื่อให้สามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบ เช่น
·         นา - หน่า - หน้า/น่า - น้า - หนา
·         วา - หว่า - หว้า/ว่า - ว้า - หวา
หมายเหตุ ปัจจุบันไม่มีคำศัพท์คำใดที่ใช้ หณ และ หฬ เป็นพยัญชนะต้น
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


คำควบกล้ำ (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู่ต้นพยางค์ และใช้สระเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงกล้ำเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไปตามเสียงพยัญชนะตัวหน้า
พยัญชนะสองตัวเรียงกัน
มี 
ร ล ว ควบกับตัวหน้า

ร่วมสระผันในหลักภาษา
เสียงที่ออกมาร่วมฟ้าเดียวกัน
           ข้อสังเกตว่าเป็นคำควบกล้ำ
1. คำควบกล้ำเวลาสะกดต้องมีพยัญชนะต้นสองตัว โดยจะมี     รวมอยู่ในพยัญชนะต้น
    เช่น      
าบ    สะกดว่า      + อา + บ      อ่านว่า       กราบ
                แป
   สะกดว่า     + แอ + ง        อ่านว่า      แปรง
              
าง    สะกดว่า      + อา + ง      อ่านว่า      กลาง
              
าย    สะกดว่า      + อา + ย        อ่านว่า      ควาย
              
    สะกดว่า     + แอ + น        อ่านว่า      แขวน
2. เมื่อมีพยัญชนะต้นสองตัวแล้วแต่ต้อง
ไม่อ่านออกเสียง อะกึ่งเสียงที่พยัญชนะต้น
    เช่น       
าด  สะกดว่า      ตล + อา + ด      อ่านว่า     ตะ - หลาด
                
าย    สะกดว่า     + อา + ย       อ่านว่า      สวาย
                
ว่าง    สะกดว่า      + อา + ง+    อ่านว่า      สว่าง
3. ต้องไม่ใช่คำที่มี
นำ
    เช่น       
อก     สะกดว่า    + ออ + ก           อ่านว่า      หรอก
                 
ลั     สะกดว่า     + อะ + บ           อ่านว่า      หลับ
                 แห    สะกดว่า     + แอ+ น            อ่านว่า      แหวน
4. ระวังคำที่มีสระ
อัวเพราะจะไม่ใช่คำที่มีควบกล้ำ
    เช่น       สวย      สะกดว่า    ส + อ
ัว +             อ่านว่า      สวย
                 ควร      สะกดว่า     ค +อ
ัว +              อ่านว่า       ควร
ห้ามมี  นำ ห้ามมีเสียง อะ
มีเสียง ห นำ มีเสียง อะ กั้น
หรือมีเสียง อัว ถ้ามี  ด้วย
มิใช่ควบกล้ำอย่างที่คุ้นเคย

หลอกหรือสวะตลาดสวรรค์
อย่าไปเรียกมันว่าคำควบเลย
มันอ่านว่า ซวย เสียแล้วหละเหวย
ฟังคำเฉลยที่จะรำพัน
           พยัญชนะต้นควบกับ ร ได้แก่ ครู เพราะ ครัว กรน ปรวนแปร ขรุขระ พระ ตรง ครั้ง กราบ โปรด ปรักปรำ ครื้นเครง เคร่งครัด ครอบ ปรอย กรอง
           คำที่มีเป็นคำควบกล้ำ
             คำควบกล้ำคือคำที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้ำพร้อมกันมี   กร-   ขร-   คร-   ตร-   ปร-  พร-     เช่น เต่ากระ มะกรูด ปลากราย กราบพระ ครีบปลา หอยแครง พริกไทย เครื่องบิน แปรงฟัน เสือโคร่ง
            พยัญชนะต้นควบกับ ลได้แก่ เปล่า ปลีก คลาน คลุก เคล้า เปลี่ยนแปลง กลบ กลม เพลิดเพลิน เกลี้ยกล่อม เกลียวคลื่น คล่องแคล่ว เกล้า
           คำที่มีเป็นคำควบกล้ำ
             คำควบกล้ำคือคำที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้ำพร้อมกันมี   กล-   ขล-   คล-   ปล-  พล-     เช่น ของกลาง เป่าขลุ่ย กล่องนม เปลวไฟ ลำคลอง ปลีกล้วย พลอย แปลงผัก  เกล็ดปลา ตีกลอง
           พยัญชนะต้นควบกับ วได้แก่ กวาด ขวาน ควาย ขวิด แคว่งคว้าง แขวน ขวนขวาย คว่ำ ควาญ แกว่งไกว ความ แคว้น ขวัญ ควัน
           คำที่มีเป็นคำควบกล้ำ
             คำควบกล้ำคือคำที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้ำพร้อมกันมี   กว-   ขว- คว- เช่น แตงกวา ไม้แขวนเสือ ขวาน ควันไฟ กวาง นอนคว่ำ ไขว่ห้าง สูงกว่า ควาย ไม้กวาด

อักษรตัวหน้ามี   
หรือมี     ร่วมกัน
เรื่องคำควบกล้ำแท้กับไม่แท้
ถ้า    ควบ  ไม้เรียว
ถ้า ท ทหาร ควบ  ไม้เรียว

มี    มาร่วมกันผัน
ส่วน   นั้นรักเดียวใจเดียว
ที่กล่าวมาแน่แน่แท้ไม่มีเสียว
ไม่มีข้องเกี่ยวกับตัว  เลย
ออก  ซีดเซียวไม่เกี่ยว  เลย



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น